นิ่วสตรูไวท์ในแมว

ภาพรังสี

ก้อนนิ่วเหล่านี้ที่ผิวสัมผัสเรียบจนถึงขรุขระปานกลาง มีลักษณะการทึบแสงเล็กน้อยถึงปานกลางขึ้นอยู่กับขนาด 40% ของแมวมักจะพบนิ่วเพียงก้อนเดียว

ข้อมูลทั่วไป

ในแมวส่วนใหญ่มักพบนิ่วชนิดสตรูไวท์ (magnesium ammonium phosphate hexahydrate) โดยอาจไม่พบการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะร่วมด้วยได้ (sterile struvite uroliths) การตรวจเพาะเชื้อแบคทีเรียจากตัวอย่างปัสสาวะสามารถทำได้เพื่อตรวจหายาปฏิชีวะที่ไวต่อเชื้อในกรณีมีการติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิด (urease-producing bacteria)

การวินิจฉัย

• เพาะเชื้อปัสสาวะซ้ำด้วยโรคสตรูไวท์ที่อาจเกิดจากการติดเชื้อ (เช่น แมวที่มีการผ่าตัดท่อปัสสาวะฝีเย็บ)

ทางการแพทย์

• ไม่ค่อยมีการระบุยาปฏิชีวนะ แต่ควรให้สำหรับแมวที่มีภาวะสตรูไวท์ที่เกิดจากการติดเชื้อ (เช่น แมวที่มีการผ่าตัดท่อปัสสาวะในฝีเย็บ)

โภชนาการ

• อาหารที่มีฟอสฟอรัส/แมกนีเซียมต่ำซึ่งส่งเสริมปัสสาวะที่เป็นกรด (เช่น อาหารมัลติแคร์ c/d และอื่นๆ)

การตรวจสอบ

การตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะซ้ำทุกๆ 6 เดือน ร่วมกับการถ่ายภาพรังสีวินิจฉัย และการเพาะเชื้อแบคทีเรียจากปัสสาวะทุกๆ 3 -6 เดือน เพื่อติดตามผลการติดเชื้อที่อาจเหนี่ยวนำการเกิดนิ่วสตรูไวท์ได้

ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ

เราแนะนำให้ศึกษาข้อมูลจากทางผู้ผลิตสำหรับคำแนะนำการใช้อาหารประกอบการรักษาโรคเพื่อทราบถึงรายละเอียดข้อบ่งใช้และข้อห้ามใช้สำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละตัว สำหรับสัตว์เลี้ยงที่มีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ร่วม เราแนะนำให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์อาหารประกอบการรักษาโรคที่เฉพาะสำหรับโรคที่สำคัญก่อน

ลิงก์ไปยังคำแนะนำแบบเต็ม PDF

นิ่วสตรูไวท์ในแมว
Back